สู่ความเป็นเลิศด้านการบริการงานไอที  ด้วยมาตรฐาน ITIL V.3

 

ปัจจุบันนี้ แนวโน้มการเจริญเติบโตทางเทคโนโลยีไอทีได้ก้าวไปสู่พรมแดนใหม่ๆ ที่เพิ่มความสะดวกสบายแก่การดำรงชีวิตของมวลมนุษย์ รวมทั้งนวัตกรรมการให้บริการด้านไอทีได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่เมื่อขนาดหรือขอบเขตการให้บริการเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นจำเป็นต้องมีมาตรฐานและแนวทางปฏิบัติที่ยอมรับได้ในระดับสากล เพื่อให้การบริการด้านไอทีในองค์กรและสาธารณะทั่วไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในเชิงบริหารจัดการ เพื่อให้การบริการด้านไอทีดังกล่าว สามารถขับเคลื่อนไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน ด้วยเหตุนี้จึงมีองค์กรต่างประเทศคิดค้นวิธีการบริหารจัดการระบบให้บริการไอทีเชิงปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพที่เราเรียกว่า ITIL

               The Information Technology Infrastructure (ITIL) เป็นวิธีการที่จะช่วยปรับปรุงองค์กรที่ติดตั้งไอทีเป็นตัวขับเคลื่อนการทำงาน จุดประสงค์เพื่อปรับไอทีให้สามารถเข้ากับธุรกิจช่วยควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานไอที รวมทั้งสามารถใช้ทรัพยากรไอทีที่มีอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ การวิจัยในต่างประเทศได้พบว่ามีการนำเอาระบบ ITIL มาใช้ในองค์มากขึ้น ตลอดระยะเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมา การศึกษาในปี 2006 พบว่ากว่า 30% ขององค์กรมีการนำเอา ITIL เข้ามาปรับใช้งาน และในปี 2014 พบว่าจำนวนขององค์กรที่นำเอา ITIL ไปปรับใช้งาน ได้เพิ่มขึ้นสูงเกินกว่า 80%

 

 

            ปัญหาที่เกิดขึ้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการไอทีในอดีตมีมากมายส่วนใหญ่เป็นปัญหาคุณภาพและขีดความสามารถในการจัดการ สาเหตุหลักเป็นเรื่องของวิธีการบริการจัดการกับปัญหาต่างๆ ของไอที

หนังสือเล่มนี้ถูกเขียนขึ้นจากประสบการณ์ในการสอนวิชา ITIL มาหลายปี รวมทั้งประสบการณ์จากการเป็นที่ปรึกษาด้านบริหารจัดการไอทีให้กับองค์กรต่างๆ ในต่างประเทศได้รวมเอาแกนหลักของวิชามาไว้ที่นี่เพียงหนึ่งเดียว แม้เนื้อหาอาจมีตกหล่นบ้าง แต่มั่นใจว่าอย่างน้อยกว่า 95% ของวิชา ITIL ถูกนำมาไว้ในหนังสือเล่มนี้

ปัญหาอีกอย่างหนึ่งคือ ท่านที่ผ่านการสอบได้ใบประกาศณียบัตรของ ITIL ได้เข้ามาหารือกับผมถึงแนวทางการนำไปประยุกต์ใช้ทางภาคปฏิบัติในองค์กรก็หลายท่าน จึงหวังว่าหนังสือเล่มนี้สามารถใช้เป็นหนังสืออ้างอิงและสามารถนำไปต่อยอดใช้งานได้

หนังสือเล่มนี้ไม่สามารถสำเร็จเสร็จสิ้นลงได้หากปราศจากการร่วมแรงร่วมใจจากหลายๆ ท่าน ขอขอบพระคุณ คุณ ปัตมภารณ์ (คุณหน่อง) จากวารสารไมโคร คุณ ดวงจิตต์ แสงชื่นถนอม ที่ให้ความกรุณาตรวจทานและแก้ไขคำผิด จนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอกราบขอบคุณทุกท่านล่วงหน้าที่ให้การต้อนรับและไว้วางใจให้เป็นหนังสือคู่กายของท่าน ในการนำเอาไปใช้เพื่อปรับปรุงคุณภาพของการบริการไอทีต่อไป

 

 

สารบัญ

บทที่ 1 รู้จักกับ ITIL Service Management Practices (‘ITIL v3’)                          17 หน้า

เส้นทางการสอบ ITIL v3 Certificate

ลักษณะการสอบ

เทคนิคการสอบ ITIL

ITSM (IT Service Management)

คุณประโยชน์ของ ITSM

ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) กับ ITSM

จุดประสงค์หลักของ ITIL

นิยาม Service Management

คำนิยามของ Best Practice

Service Management Technology

รู้จักกับอายุขัยของระบบบริการไอที (Service Life Cycle)

แนวคิดเกี่ยวกับ Service Life Cycle ของ ITIL v.3

รู้จักกับ Function (หน้าที่การทำงาน) และ Processes

โครงสร้างของการสื่อสารที่ ITSM เน้น

โครงสร้างของ ITIL v.3

10 ขั้นตอนของการนำเอา ITIL ไปใช้งาน

บทที่ 2 Service Strategy                                                                                35 หน้า

เป้าหมาย

จุดประสงค์

การจัดสร้างคุณค่าของการให้บริการ

ขอบข่ายงาน (Scope)

แนวคิดเบื้องต้น

กลยุทธ์ของไอที (ครอบคลุมกลยุทธ์การให้บริการไอที)

ยุทธ์วิธีและเทคนิคการบริหาร Service ด้านไอที

คุณค่า (Value)

ตัวอย่างของ Utility

ตัวอย่างของ Warranty

เครือข่ายคุณค่า (Value Network)

Service Provider

Type I : Internal Service Provider

Type II : Shared Service unit

Type III: External Service Provider

วิธีการนิยาม การให้บริการ

กระบวนการทำงาน (Process) หรือกิจกรรม (Activity)

กิจกรรมของ Service Strategy

การจัดสร้างองค์กร (Organization)

บทบาทและความรับผิดชอบ

ระเบียบวิธี เทคนิค และเครื่องมือ

การใช้งาน (Implementation) และการปฏิบัติงาน

ความท้าทายและโอกาส

ความเสี่ยงที่อาจพบ

หน้าที่การทำงานและกระบวนการต่างๆใน Service Strategy

Financial Management

กิจกรรมพื้นฐาน

แนวคิดพื้นฐาน

ส่วนประกอบที่เป็นต้นทุน (Cost)

กิจกรรม (Activities)

Input และ Output

บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบของ Financial Management

Service Portfolio Management

บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบของ Service Portfolio Management

รายการตรวจสอบ (Checlkist) สำหรับ Service Portfolio

Demand management

แนวคิดเบื้องต้นสำหรับ Demand Management

Activity-Based Demand Management

บทบาทและความรับผิดชอบของ Demand และ Capacity Management

ข้อพิจารณาของ Financial Management

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ Demand Management

บทที่ 3 Service Design                                                                        89 หน้า(ยังไม่รวม ต.ย. 3 ต.ย.)

จุดประสงค์

มูลค่าในทางธุรกิจ

เป้าหมายของ Service Design

แนวคิดเบื้องต้น

Service Package

โมเดลการส่งมอบบริการ (Service Delivery Model)

กระบวนการและกิจกรรมอื่นๆ

Service Design Process

กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Service Design Technology

การจัดองค์กร (Organization)

ประโยชน์ของ RACI Model

บทบาทที่สำคัญภายใต้ Service Design

ข้อพิจารณาของเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับ Service Design

การนำไปใช้งาน (Implementation) และการปฏิบัติงาน

หน้าที่การทำงานและกระบวนการ

Service Catalogue Management

ขอบข่ายงานของ Service Catalog

ความแตกต่างระหว่าง Service Portfolio กับ Service Catalogue

บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของ Service Catalogue Management

กิจกรรม วิธีการ และเทคนิคต่างๆ

ตัวกระตุ้นของกระบวนการทำงาน

ข้อมูล Input และ Output

KPI ที่บ่งบอกถึงความสำเร็จ

สิ่งที่ท้าทาย ปัจจัยที่แสดงความสำเร็จและความเสี่ยง

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากข้อมูลไม่แม่นยำภายใน Service catalogue

ตัวอย่าง Service Catalog

Service Level Management

แนวคิดหลักของ Service Level Management

แนวคิดพื้นฐาน

หน้าที่รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่หลักของ Service Level Management

สิ่งที่อยู่ภายใน Service Level Agreement

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ Output

ตัวอย่าง Service Level Agreement (SLA) (แบบที่ 1)                                  

ตัวอย่าง Service Level Agreement (SLA) (แบบที่ 2)                                  

Capacity Management                                                                                        

การบริหารขีดความสามารถ (Capacity Management)

แนวคิดหลัก

Capacity Management ถูกใช้เพื่อบริหารจัดการ

Capacity Management เป็นกระบวนการที่ใช้บริหารจัดการ

ประเภทของการบริหาร Capacity

ขอบเขตความรับผิดชอบ

ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 8 ประการ

สิ่งกระตุ้นให้เกิดการบริหารจัดการ Capacity Management

งานที่ต้องทำเกี่ยวกับ Capacity Management

ITIL Capacity Management

การจัดทำ Capacity Management

กิจกรรมประเภทตอบสนอง

กิจกรรมแบบปัจเจก

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ Output

บทบาทของผู้รับผิดชอบ (Capacity Manager)

KPI สำหรับ Capacity Management

ความเสี่ยงในการบริหารจัดการ Capacity

Availability Management                                                                                                ท่อน 2

จุดประสงค์ของการบริหารความพร้อมการให้บริการ

แนวคิดเบื้องต้น

กระบวนการทำงานของการบริหารความพร้อม

แนวคิดหลักของ Availability Management

ความพร้อม (Availability)

ความน่าเชื่อถือ (Reliability)

ความสามารถในการบำรุงรักษา (Maintainability)

อธิบายลำดับการจัดการให้ระบบกลับคืนสู่ปกติ

คำอธิบายใน Extended Incident Life Cycle

มาตรวัดอื่นๆสำหรับ Availability

กิจกรรม

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง

งานเกี่ยวกับการบริหารจัดการ Availability

กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ Availability Management

กิจกรรมลำดับรองลงมา

การวางแผนเกี่ยวกับ Availability

ผู้ที่เกี่ยวข้องและขอบเขตการรับผิดชอบ

สิ่งที่แสดงถึงความสำเร็จหรือประสิทธิภาพในการบริหาร Availability

รายการตรวจสอบเกี่ยวกับข้อมูลภายในรายงาน Availability

KPI สำหรับ ITIL Availability Management

ข้อมูล Input และ Output

ตัวอย่าง Template

IT Service Continuity Management (ITSCM)

กิจกรรม

กิจกรรมที่เป็นกุญแจหลัก

ตัวอย่างลักษณะของงาน ITSCM

พัฒนาแผนงาน IT service continuity และกระบวนการทำงาน

การวางแผนองค์กร

ข้อมูล Input และ Output

คุณสมบัติของ ITSCM Manager

KPI สำหรับการบริหาร ITSCM

Information Security Management

แนวคิดการทำงานหลัก

ประเภทของการบริหารระบบรักษาความปลอดภัย

ตัวอย่างการบริหารระบบรักษาความปลอดภัย

การควบคุมความปลอดภัยต่อการเข้าถึงบริการและข้อมูล (Access Control Policy)

จุดประสงค์

นิยามของนโยบาย

นโยบายการควบคุมรหัสผ่าน

จุดประสงค์

ขอบข่ายงาน

นิยามของนโยบาย

การบริหารจัดการ รหัสผ่านสำหรับผู้ใช้งาน

มาตรฐานของระบบบริหารจัดการ Security

กิจกรรม

การตรวจวัดความปลอดภัย

ส่วนประกอบของการบริหารจัดการ Security

สิ่งที่แสดงถึงความสำเร็จจากการ Implement

กระบวนการทำงาน

บทบาทและความรับผิดชอบ

Information Security Manager

Security Officer

ข้อมูล Input และ Output

KPI สำหรับ Security Management

Supplier Management

ความหมาย

กิจกรรม

กระบวนการบริหาร Supplier

หน้าที่รับผิดชอบหลักของ Supplier Manager

ข้อมูล Input และ Output

บทที่ 4   Service Transition                                                               43 หน้า

จุดประสงค์

ขอบข่ายของงาน

มูลค่าที่มีต่อธุรกิจ

เป้าหมายของ Service Transition สำหรับผู้เกี่ยวข้อง

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กระบวนการดำเนินงานภายใต้ Service Transition

กิจกรรมของ Service transition

องค์กร (Organization)

Organizational Context

บทบาทและหน้าที่หลักภายใต้ Service Transition

หน้าที่รับผิดชอบของ Service Asset Manager

หน้าที่รับผิดชอบหลักของ Configuration Manager

หน้าที่รับผิดชอบของ Configuration Analyst

หน้าที่รับผิดชอบของ Configuration Administrator/Librarian

หน้าที่รับผิดชอบของ CMS/Tools Administrator

หน้าที่รับผิดชอบของ Change Manager

การบริหารการเปลี่ยนแปลงในระดับขององค์กร

การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Management)

Change Advisory Board (CAB)

หน้าที่รับผิดชอบของ Release Packaging และ Build Manager

วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือ

การสนับสนุนการนำไปใช้และวิธีปฏิบัติงาน

ความเสี่ยงที่เห็นได้ชัดเจนที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอน Service Transition ได้แก่

หน้าที่และกระบวนการทำงาน

การวางแผนและให้การสนับสนุน Transition (Transition Planning and Support)

แนวคิดเบื้องต้น

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ Output

Change Management

เป้าหมายของ Change Management

กระบวนการ Change Management

ขอบข่ายของการเปลี่ยนแปลง

แนวคิดเบื้องต้น

กิจกรรม

นโยบาย

การออกแบบและวางแผน

มาตรวัด (Metric)

ข้อมูล Input และ Output

การบริหารจัดการ Service Asset และ Configuration Management

ผังการไหลของงานภายใต้ Change Management

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ Output

Release and Deployment Management

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ Output

Service Validation และการทดสอบ

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ output

การประเมินคุณค่า (Evaluation)

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ Output

การบริหารองค์ความรู้ (Knowledge Management)

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

ข้อมูล Input และ Output

สรุป Service Transition

Service Asset and Configuration Management

Change Management (4 บรรทัด)

Release and Deployment Management (4 บรรทัด)

Service Validation และการทดสอบ (3 บรรทัด)

บทที่ 5 Service Operation                                                                  88 หน้า

เป้าหมาย

จุดประสงค์

ขอบข่ายงาน

หน้าที่ (Function) การทำงานของ Service Operation

มูลค่าทางธุรกิจ

แนวคิดพื้นฐาน

กระบวนการ Service Operation

กิจกรรมของ Service Operation

การจัดตั้งเป็นองค์กร

บทบาทของ Service desk

บทบาทเกี่ยวกับการบริหารทางเทคนิค

บทบาทหน้าที่ของ IT Operation management

บทบาทการบริหารแอพพลิเคชั่น

บทบาทเกี่ยวกับ Event Management

บทบาทหน้าที่ของ Incident Management

บทบาทของ Request Fulfillment

บทบาทของ Problem Management

บทบาทของ Access Management

วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือ

การนำไปใช้งานและการปฏิบัติงาน

องค์ประกอบที่จะทำให้ประสบความสำเร็จ

ความเสี่ยที่อาจจะไม่ประสบผลสำเร็จ

Event Management

จุดประสงค์

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

ขอบเขตการทำงาน

กฏกติกาและแนวคิดพื้นฐาน

การออกแบบสำหรับการบริหารเหตุการ์

คุณสมบัติของเครื่องมือที่ใช้เฝ้าดู (Monitoring Software)

ทางเลือกต่อการตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการบริหารเหตุการ์

ข้อมูล Input และ Output

ประเด็นสู่ความสำเร็จ (CSF= Critucal Success Factors) และ KPI

การบริหารอุบัติการณ์ (Incident Management)

First Line

Second Line

Third Line

จุดประสงค์ของ Incident Management

จุดประสงค์ของกระบวนการ Incident Management

ขอบข่ายการทำงาน

นโยบาย กฏกติกาและแนวคิดพื้นฐาน

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

ลักษณะการไหลของผังงาน

กิจกรรมของโปรเซส วิธีการและเทคนิคต่างๆ

การแยกแยะเหตุการณ์ (Incident) ที่เกิดขึ้น

การจัดทำบันทึกเหตุการณ์

การแบ่งประเภทของเหตุการณ์

การจัดลำดับของความสำคัญของเหตุการณ์

การวินิจฉัยปัญหา

ข้อมูล Inputs และ outputs

ประเด็นที่แสดงถึงความสำเร็จ CSF (Critical Success Factors) และ KPI

Request Fulfillment

เป้าประสงค์และจุดประสงค์

การติดตามสถานะของการร้องขอ

ข้อมูล Inputs และ outputs

Problem Management

เป้าประสงค์และจุดประสงค์

แนวคิดเบื้องต้น

กิจกรรมของกระบวนการ วิธีการและเทคนิควิธี

การตรวจพบปัญหา

การบันทึกปัญหาที่เกิดขึ้น

การแยกประเภทของปัญหา

การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

การวินิจฉัยและวิเคราะห์ปัญหา

กิจกรรม

ข้อมูล Inputs และ outputs

ประเด็นที่แสดงถึงความสำเร็จ CSF (Critical Success Factors) และ KPI

Access Management

เป้าประสงค์และวัตถุประสงค์

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

ขอบเขตของงาน

กิจกรรม

ข้อมูล Inputs และ outputs

ประเด็นที่แสดงถึงความสำเร็จ CSF (Critical Success Factors) และ KPI

Monitoring และ Control

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

การทำ Monitoring

วิธีการ Monitor

การควบคุม

กิจกรรม

ข้อมูล Inputs และ outputs

IT Operations

แนวคิดเบื้องต้น

กิจกรรม

งานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานไอทีบางส่วน

งานเฝ้าดูการทำงานของระบบ

Print and Output

การบริหารจัดการเซิร์ฟเวอร์และการให้บริการดูแลรักษา

กิจกรรมประจำอื่นๆ

การบริหารจัดการเครือข่าย

การจัดเก็บข้อมูล และการเก็บ

การบริหารฐานข้อมูล

การบริหารจัดการ Directory Services

การให้บริการเดสก์ท็อป

การบริหารจัดการการเชื่อมต่ออินเตอร์เนตและเว็ป

ข้อมูล Inputs และ outputs

Service Desk

แนวคิดเบื้องต้น

กิจกรรม

ส่วนประกอบที่สำคัญของ Service Desk

บุคลากร (People)
คุณสมบัติของ Service Desk

กระบวนการ(Process)

การรวบรวมข้อมูลของ Service Desk (Information)

ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า

ข้อมูลเกี่ยวกับ Incident

สถานะของข้อมูลที่ Service Desk เก็บไว้

เทคโนโลยี(Technology)

ความล้มเหลวต่อการบริหารความคาดหวังของลูกค้า

ชนิดของ Customer Service และหน่วยงานสนับสนุน

ภารกิจของ Service Desk

หน้าที่หลักของ Service Desk

ชนิดของ Service Desk

Internal Service Desk

บทบาทหน้าที่ของ Internal Service Desk

การฝึกอบรม

การบริหารจัดการระบบและเครือข่าย

Request Fulfillment

External Service Desks

บทบาทหน้าที่ของ External Service Desk

Blended Service Desk

ขนาดของ Service Desk

Service Desk ขนาดเล็ก

Service Desk ขนาดใหญ่

โครงสร้างของ Service Desk

โครงสร้าง Service Desk แบบ Centralized

Decentralized Service Desks

เทคโนโลยีสำหรับ Service Desk

ค่าใช้จ่าย

ประเภทของเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับเซอร์วิส

Voice Over IP

ระบบ Unified communication

อะไรคือสิ่งที่บ่งบอกถึงความสำเร็จสำหรับ Service Desk

วิธีการวัดความพึงพอใจของลูกค้า

การวัดประสิทธิภาพของ Service Desk

ประเภทการทำงานของ Service Desk

Reactive Service Desk

Proactive Service Desk

การวัดประสิทธิภาพของทีมงาน

เป้าหมายของ Service Desk ที่มีต่อ SLA

มาตรวัดความสำเร็จของ Service Desk ทั่วไป

ข้อมูล Inputs and outputs

บทที่ 6 Continual Service Improvement (CSI)                                14 หน้า

เป้าหมาย

จุดประสงค์

ขอบเขตการทำงาน

มูลค่าที่มีต่อธุรกิจ

แนวคิดขั้นต้น

Processes และกิจกรรมอื่นๆ

กระบวนการ

Organization

Service Manager

CSI manager

Service Owner

Process Owner

บทบาทอื่นๆ

วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือ

Implementation and Operation

คุณประโยชน์ของ CSI

ปัจจัยสำคัญสู่ความสำเร็จสำหรับ CSI

ความท้าท้ายและความเสี่ยง

หน้าที่การงานและกระบวนการ

กระบวนการปรับปรุงของ CSI

แนวคิดขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

ข้อมูล Inputs และ outputs

Service Reporting

งานที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

แผนงานการปรับปรุง Service มาตรฐาน ITIL

จุดประสงค์

ตัวอย่างแผนงานปรับปรุงบริการเชิงปฏิบัติ

ตัวอย่างการเฝ้าดูและจัดทำรายงาน

ความพร้อมของการให้บริการ (Service Availability)

เวลาที่ใช้ไปกับการแก้ปัญหา

การสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า

Sign up for our newsletter to get the latest updates